วันอังคารที่ 10 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2558

ENE324 การทดลองเรื่อง การวัดรูปแบบการแพร่คลื่นของสายอากาศ (Antenna Radiation Pattern Measurement)

ENE324 การทดลองเรื่อง การวัดรูปแบบการแพร่คลื่นของสายอากาศ 
(Antenna Radiation Pattern Measurement)

วัตถุประสงค์: 
1. ศึกษาการใช้เครื่องวิเคราะห์แถบความถี่ในการวัดความแรงสัญญาณ
2. ศึกษาตัวแปรต่างๆ ในการรับสัญญาณของสายอากาศ
3. แสดงรูปแบบการแพร่กระจายคลื่น จากการทดลอง

อุปกรณ์ในการทดลอง:
1. สายอากาศแบบ slot และ Parabolic
 
2. ออสซิเลเตอร์แบบ Dielectric Resonant Oscillator ความถี่ 5.8 GHz
3. Spectrum Analyzer
4. สายนำสัญญาณ
5. เครื่องหมุนสายอากาศและวัดมุม
6. Power Supply


ขั้นตอนการทดลอง:

 
1. ติดตั้งอุปกรณ์รับ และส่งสัญญาณ ที่ความถี่ 5.8 GHz ใช้ แรงดันไฟเลี้ยง 5V ดังรูป 
2. ทดลองส่งสัญญาณ 5.8 GHz ด้วยการตั้งระนาบจานส่งสัญญาณแบบ Parabolic ในระนาบ vertical และ จานรับสัญญาณแบบรับในระนาบ Horizontal โดยการหมุนจานรับ
3. วัดสัญญาณจากมุม 0 องศา จนถึงมุม 180 องศา บันทึกค่าแอมปลิจูดของยอดคลื่นลงในตาราง
4. วาดกราฟความสัมพันธ์ Front to back Ration (F/B) ของสัญญาณ กับค่ามุมที่จานรับสัญญาณหมุนไปในรูปแบบ Polar และ Rectangular โดยเทียบจุดที่มีค่าแอมปลิจูดสูงสุดให้เป็น 0 dB แล้ว มุมอื่นมีค่าลดลงเป็นสัดส่วนตามลำดับ
5. ใช้สายอากาศแบบ Slot และเปลี่ยนจานรับแบบParabolicจากระนาบHorizontal เป็นVertical โดยการหมุนจานรับสัญญาณจากมุม 0องศา จนถึงมุม 180 องศา บันทึกค่าแอมปลิจูดของยอดคลื่นลงในตาราง
6. ทำการวาดกราฟการแพร่กระจายคลื่น และแสดง Front to back Ration (F/B) ของสายอากาศ

ผลการทดลอง:

ตารางบันทึกผลการทดลอง ความแรงสัญญาณ (dBm)



Angle
Horizontal polarization Level(dBm)
Vertical polarization Level(dBm)
0
-42.89
-60.1
5
-45.98
-66.34
10
-63.45
-78.1
15
-63.6
-77.45
20
-64.4
-77.5
25
-71.5
-84.8
30
-72.22
-85.59
35
-74.57
-84.35
40
-73.8
-85.67
45
-67.71
-81.47
50
-65.08
-80.6
55
-68.44
-83.1
60
-76.07
-85.48
65
-68.58
-82.47
70
-68.22
-81.54
75
-70.79
-83
80
-72.43
-84.6
85
-73.78
-84.5
90
-69.74
-84.2
95
-70.87
-84.7
100
-68.85
-82.99
105
-71.61
-83.2
110
-73.64
-85.6
115
-75.04
-86.3
120
-71.18
-84.6
125
-74.69
-86
130
-74.28
-85
135
-75.71
-86
140
-78.39
-85.6
145
-72.45
-89.22
150
-78.59
-91.67
155
-78.92
-88.09
160
-70.49
-89.53
165
-76.9
-81.51
170
-77.04
-79.74
175


180


185


190


195


200
-69.69
-83.2
205
-77.25
-84.4
210
-72.85
-86.71
215
-74.19
-87.98
220
-79.41
-85.15
225
-84.44
-86.99
230
-80.65
-85.2
235
-71.19
-86.4
240
-74.06
-82.1
245
-69.64
-85.32
250
-72.65
-84.25
255
-71.75
-83.9
260
-71.03
-90
265
-73.51
-86.4
270
-73.5
-85.99
275
-72.67
-89
280
-70.36
-86
285
-68.13
-87.7
290
-71.27
-85.23
295
-77.74
-84.93
300
-66.99
-84.06
305
-70.09
-82.4
310
-69.27
-84.3
315
-71.8
-91.7
320
-71.73
-87.9
325
-72.73
-85.21
330
-72.15
-89.84
335
-64.4
-80.5
340
-63.36
-78.24
345
-64.55
-80.73
350
-77.98
-79.26
355
-49.69
-64.68


-Horizontal polarization
 กราฟการแพร่กระจายคลื่นรับด้วยระนาบ Horizontal
กราฟ RPE แบบ rectangular รับด้วยระนาบ Horizontal
  

 -Vertical polarization

กราฟการแพร่กระจายคลื่นการรับด้วยระนาบ vertical
 กราฟ RPE แบบ rectangular รับด้วยระนาบ vertical


-ค่าต่างๆที่คำนวณได้จากการทดลอง

สรุปผลการทดลอง
        จากการทดลอง พบว่าเมื่อตั้งจานรับสัญญาณแบบ Horizontal กับ แบบ Vertical ที่รับสัญญาณจากเครื่องส่งที่ 0 องศา จะทำให้จานรับสัญญาณสามารถรับสัญญาณได้แรงที่สุด และ เมื่อปรับมุมการรับสัญญาณของจานรับสัญญาณ ไปที่มุมต่างๆ ตั้งแต่ 0-355 องศา  จะมีการลดทอนของสัญญาณเกิดขึ้นไปตามกราฟที่ได้จากผลการทดลอง

วิจารณ์ผลการทดลอง
               การตั้งจานรับสัญญาณแบบ Horizontal กับ แบบ Vertical มีความแตกต่างกัน โดยแบบ Horizontal จะทำการปรับแกนตรงกลางของจานให้ขนานกับพื้น ส่วนแบบ Vertical จะทำการปรับแกนตรงกลางของจานให้ตั้งฉากกับพื้น จะเห็นว่าเครื่องรับสัญญาณสามารถรับสัญญาณได้ทั้งระนาบ Vertical และ Horizontal เนื่องจากเครื่องส่งสัญญาณไม่สามารถส่งสัญญาณออกมาในระนาบเดียวได้ แต่เราสามารถนำค่าที่วัดได้มาเปรียบเทียบกันว่าระนาบใดสามารถรับสัญญาณได้แรงกว่ากัน การปรับองศาของจานรับสัญญาณทำให้ค่าของสัญญาณที่รับได้แตกต่างกันแสดงว่าจานรับสัญญาณนั้นมีอัตราป้องกันสัญญาณ รบกวนในทิศทางต่างๆมากน้อยต่างกัน
 และการหาค่าFront to back Ration อาจเกิดความคาดเคลื่อนได้เนื่องจากไม่สามารถค่าที่มุม 175-195องศา